น.ส.วรรณภรณ์ ปิยะอรุณ ม.4/4 เลขที่ 4 โรงเรียนถาวรานุกูล จังหวัดสมุทรสงคราม

วันพฤหัสบดีที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2557

บทที่3 การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์


3.5 ประโยชน์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์



ประโยชน์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หนึ่งเครือข่ายจะมีการทำงานรวมกันเป็นกลุ่ม ที่เรียกว่า กลุ่มงาน (workgroup)
แต่เมื่อเชื่อมโยงหลายๆ กลุ่มงานเข้าด้วยกัน ก็จะเป็นเครือข่ายขององค์กร และถ้าเชื่อมโยงระหว่างองค์กรผ่านเครือข่ายแวน ก็จะได้เครือข่ายขนาดใหญ่ขึ้น อ่านเพิ่มเติม...

บทที่3 การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์



3.4 เครือข่ายคอมพิวเตอร์

 

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือคอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์ก คือกลุ่มของคอมพิวเตอร์จํานวนตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไปและอุปกรณ์ต่างๆ ที่ถูกนํามาเชื่อมต่อกันเพื่อให้ผู้ใช้ในเครือข่ายสามารถติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล และใช้อุปกรณ์ต่างๆ ในเครือข่ายร่วมกันได้ เครือข่ายนั้นมีหลายขนาด ตั้งแต่ขนาดเล็กที่เชื่อมต่อกันด้วยคอมพิวเตอร์เพียงสองสามเครื่อง เพื่อใช้งานในบ้านหรือในบริษัทเล็กๆ ไปจนถึง อ่านเพิ่มเติม...

บทที่3 การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์


3.3 อุปกรณ์ที่สำคัญในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์



1. การ์ดเชื่อมต่อเครือข่าย (Network Interface Card)
คือ แผงวงจรสำหรับใช้ในการเชื่อมต่อสัญญาณของเครือข่ายทั้งแบบใช้สายและแบบไร้สาย มีหน้าที่แปลงสัญญาณจากคอมพิวเตอร์ส่งผ่านไปตามสายนำสัญญาณ ทำให้คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกันได้ อ่านเพิ่มเติม...

บทที่3 การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์


3.2 การสื่อสารข้อมูล



การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล เพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับเกิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน อ่านเพิ่มเติม...

บทที่3 การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์

3.1 ความรู้เบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์



การติดต่อสื่อสารเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นควบคู่มากับมนุษย์ เนื่องจากมนุษย์ต้องอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม โดยใช้ภาษาเป็นสื่อในการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันและกัน ซึ่งปัจจุบันการสื่อสารข้อมูลมีการพัฒนาเจริญก้าวหน้ามากยิ่งขึ้น มีการส่งข้อมูลในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยสามารถส่งผ่านข้อมูลได้ทุกประเภท อ่านเพิ่มเติม...


บทที่ 2 ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์และการเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงาน

2.4 การจัดหาซอฟต์แวร์เพื่อมาใช้งาน 




การจัดหาซอฟต์แวร์เพื่อมาใช้งาน มีแบบสำเร็จรูปเป็นวิธีที่ผู้ใช้งานซื้อได้จากตัวแทนจำหน่าย แบบว่าจ้างทำเป็นวิธีการที่เหมาะสำหรับองค์กรี่มีลักษณะงานเฉพาะของตนเอง แบบทดลองใช้เป็นวิธีการที่บริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์ได้ผลิตและปรับลดคุณสมบัติบางอย่างลงไปเพื่อให้ทดลองใช้ก่อน แบบใช้งานฟรีเป็นโปรแกรมที่ให้ใช้ฟรี แบบโอเพนซอร์ซเป็นวิธีการขององค์กรที่มีกลุ่มบุคคลที่มีความรู้และเชี่ยวชาญทางด้านการพัฒนาซอฟต์แวร์ อ่านเพิ่มเติม...

บทที่ 2 ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์และการเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงาน

2.3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)



ซอฟต์แวร์ประยุกต์ คือซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้น เพื่อประยุกต์กับงานที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคำ ซอฟต์แวร์จัดเก็บภาษี ซอฟต์แวร์สินค้าคงคลัง ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน ซอฟต์แวร์กราฟิก ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล เป็นต้นการทำงานใดๆ โดยใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ จำเป็นต้องทำงานภายใต้สภาพแวดล้อมของ อ่านเพิ่มเติม...

บทที่ 2 ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์และการเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงาน

2.2 ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)



ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) หมายถึง โปรแกรมที่ทำหน้าที่จัดการกับระบบคอมพิวเตอร์ กล่าวคือ โปรแกรมควบคุมและประสานการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้งดำเนินงานพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์ อ่านเพิ่มเติม...

บทที่ 2 ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์และการเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงาน

2.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์



ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง ชุดคำนั่งที่เขียนขึ้นด้วยภาษาของคอมพิวเตอร์ ใช้สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่าง ๆ กล่าวคือ ซอฟต์แวร์เป็นสิ่งที่ผู้ใช้มองไม่เห็นและสัมผัสไม่ได้ แต่สามารถรับรู้การทำงานได้ ต่างจากฮาร์ดแวร์ (Hardware) อ่านเพิ่มเติม...

บทที่ 1 หลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์

1.4 ชนิดของการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์


   Computer หรือ เครื่องคอมพิวเตอร์ ในที่นี้จะกล่าวถึง Computer PC หรือ เครื่องคอมพิวเตอร์ พีซี อะไรจะเป็นตัววัดความคุ้มค่าของ พีซี ได้ดีที่สุด เท่าที่เคยใช้ๆ ก็เห็นจะเป็นซอฟต์แวร์ทดสอบ หรือไม่ก็ราคาที่แพง บางคนก็มองแค่ภายนอกด้วยซ้ำว่าเครื่องนี้ดูสวยดี ใช้ซีพียูความเร็วสูงๆ แถมราคาสูงๆ ก็ซื้อเลย แต่ไม่ได้มองเจาะไปถึงการนำไปใช้งานของตัวเองเลยว่าจะนำไปใช้ได้เต็มประสิทธิภาพได้มากแค่ไหน อ่านเพิ่มเติม...

บทที่ 1 หลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์

1.3 หลักการเลือกคอมพิวเตอร์


   ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ถือเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยในการทำงานของหลายองค์กร ทั้งการพิมพ์เอกสาร จัดเก็บข้อมูล นำเสนอผลงาน รวมทั้งการออกแบบงานต่างๆ ซึ่งลักษณะของงานจะมีความแตกต่างกันออกไป เพื่อให้ได้ผลงานที่มีประสิทธิภาพ ตรงตามความต้องการของผู้ใช้และคุ้มค่ากับจำนวนเงินที่จ่ายไป ผู้ใช้ควรศึกษาถึงหลักการ อ่านเพิ่มเติม...

บทที่ 1 หลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์

1.2 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์



จากหลักกาคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 5 ส่วนด้วยกัน คือ

1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง สิ่งที่มองเห็นและจับต้องสัมผัสได้ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ (Case) เมนบอร์ด (Mainboard) และอุปกรณ์ต่อพ่วงรอบข้าง (Peripheral) ที่เกี่ยวข้อง 

2. ซอฟต์แวร์ (Software) อ่านเพิ่มเติม...

บทที่ 1 หลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์

1.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์

เริ่มจากผู้ใช้ทำการกรอกข้อมูลหรือคำสั่งผ่านทางอุปกรณ์รับข้อมูล (Input Devices) ซึ่งข้อมูลหรือคำสั่งต่างๆที่รับเข้ามาจะถูกนำไปเก็บไว้ที่หน่วยความจำหลัก (Memory) จากนั้นก็จะถูกนำไปประมวลผลโดยหน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing) แล้วนำผลที่ได้จากการประมวลผลมาเก็บไว้ในหน่วยความจำแรม พร้อมทั้งแสดงออกทางอุปกรณ์แสดงผล (Output Devices) ดังนั้นระบบคอมพิวเตอร์จึงประกอบด้วย 4 ส่วนด้วยกัน ได้แก่ ส่วนอุปกรณ์รับข้อมูล ส่วนประมวลผลกลาง หน่วยความจำ และอุปกรณ์แสดงผล อ่านเพิ่มเติม...








กระทงไฮเทค AEC หนึ่งเดียวในโลก


กระทงไฮเทค
    คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระเจ้าเกล้าคุณทหารลาดกระบัง กล่าวว่า “ ก่อนวันลอยกระทง1วัน คณะวิศวกรรมศาสตร์ ซึ่งเป็นผู้นำงานวิจัยนวัตกรรมที่ก้าวล้ำด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและเป็นสถาบันบ่มเพาะวิศวกรที่ใหญ่ที่สุดในอาเซียน ได้จัดงานแถลงเปิดตัว "ซูเปอร์กระทงไฮเทคAEC2012...หนึ่งเดียวในโลก" อ่านเพิ่มเติม...